|
|
|
วิถีชีวิตและอาชีพของชาวตำบลฝายหลวง อำเภอลับแล
ส่วนใหญ่ คือ การทำสวนผลไม้ลองกอง ลางสาด ทุเรียน มังคุด
กาแฟ ปลูกหอมแดง ปลูกข้าวพืชฤดูแล้งฯลฯ |
|
|
|
|
|
ตำบลฝายหลวงมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง
และภูเขาสูง สภาพดินในพื้นที่ราบเป็นดินดำและดินเหนียว
ในส่วนของภูเขามีสภาพเป็นดินเหนียวและดินคสล. |
|
|
|
|
|
|
สภาพภูมิอากาศแบบมรสุม มี 3 ฤดู คือ |
|
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม ถึงเดือนมิถุนายน |
|
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ถึงเดือนตุลาคม |
|
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
ชาวตำบลฝายหลวงส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ |
มีวัด จำนวน 8 แห่ง |
|
วัดเจดีย์คีรีวิหาร |
|
วัดดอนสัก |
|
วัดดอยมูล |
|
วัดท้องลับแล |
|
วัดทุ่งเอี้ยง |
|
วัดห้วยผึ้ง |
|
วัดใหม่เชียงแสน |
|
วัดม่อนพัฒนาราม |
|
|
|
ขนบธรรมเนียม
ประเพณี และวัฒนธรรม |
|
|
|
|
|
|
|
|
ประเพณี |
|
ประเพณีลอยกระทง |
|
ประเพณีสงกรานต์ |
|
ประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮง หรือบางตำราบันทึกไว้ว่า
ประเพณีแห่น้ำขึ้นโรง |
ภาษาถิ่น ภาษาที่ใช้คือภาษาพื้นเมืองของทางลับแล |
|
|
ภูมิปัญญาท้องถิ่น |
เป็นตำบลที่สงบเงียบ อยู่ท่ามกลางหุบเขา ธรรมชาติที่บริสุทธิ์ วิถีชีวิตผู้คนเป็นไปแบบดั้งเดิมและการ
ย่างก้าวอย่างช้าๆ แต่ว่ามีความงดงามอยู่ในตัว ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมกับผู้คนที่มีความเรียบง่าย |
OTOP สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก |
|
ไม้กวาดตองกง |
|
ผ้านวม |
|
ผ้าซิ่นตีนจก ผลิตภัณฑ์จากผ้าพื้นเมือง |
|
ผลิตภัณฑ์จักสาน |
|
|
|
|
|
|
|
โรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 2 แห่ง |
|
โรงเรียนวัดดอนสัก |
|
โรงเรียนวัดใหม่ |
โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา จำนวน 1 แห่ง |
|
โรงเรียนลับแลพิทยาคม |
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 1 แห่ง |
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลฝายหลวง |
|
|
|
|
|
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 2 แห่ง |
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฝายหลวง |
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท้องลับแล |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ศูนย์บริการประชาชน
ตำบลฝายหลวง |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
อปพร. 2 รุ่น |
จำนวน |
216 |
คน |
|
กลุ่มพลังมวลชนตำบลฝายหลวงเป็นพลังแผ่นดินเอาชนะ
ยาเสพติด 1 รุ่น |
|
|
จำนวน |
91 |
คน |
|
|
|
|
|